
The Poem in Lied
Experiment Research
Experiment Research
จัดทำแบบสอบถามโดยให้ฟังเพลงที่นำมาทดสอบโดยแบ่งเป็น
3 กลุ่ม
-
1. ไฟล์เสียงที่ยังไม่ได้แปล และตอบคำถาม
-
2. ไฟล์เสียงที่แปลมาแล้วแต่ยังไม่บอกความหมาย และตอบคำถาม
-
3. พูดถึงความหมายของบทเพลงที่ทดสอบ และฟังบทเพลง
และตอบคำถาม ว่ารู้สึกอย่างไร
อายุของผู้ถูกสัมภาษณ์
20-27 ปี
“เพลงตัวดนตรีมันสามารถสื่อได้ดีในระดับหนึ่งถึงจะไม่ได้รู้ความหมายของตัวเพลงก็ตามมีช่วงหนึ่งที่เป็น เมเจอร์สามารถรับรู้ได้ว่า ช่วงนั้น เป็นช่วงที่ฟังแล้ว ไม่เศร้าแต่มันก็กลับมาคีย์ไมเนอร์
อีกทีที่ฟังแล้วเศร้า ส่วนเพลงที่ 2 มันกลับดูเวิ้งว้างมากกว่าท่อนแรก มีความมึนงง เพราะทำนองเล่นซ้ำ และไม่รู้ความหมาย”
ฟังตัวเพลงโดยไม่มีคำแปล
เพลงที่ 1 แสดงว่าผู้ฟังกลุ่มนี้ สามารถรับรู้ได้จาก Harmony ที่ได้เปลี่ยน จาก Minor เป็นคีย์ Major ซึ่งท่อนที่เป็นคีย์ minor เป็นท่อนที่ฟังแล้วเศร้า ส่วนท่อนที่เป็นคีย์ Major ฟังแล้วรู้สึก ไม่เศร้า มีความอบอุ่น แต่มันก็กลับมาไมเนอร์อีกที ส่วนเพลงที่ 2 กลับเศร้ากว่าเพลงแรก ทำนอง มีการซ้ำ และ Harmony ที่ซ้ำไปซ้ำมา ฟังแล้วไม่เข้าใจกับตัวเพลง
ฟังตัวเพลงโดยมีคำแปล
เนื้อเพลง
“เพลงที่ 1 Schubertค่อนข้างให้
ความสำคัญกับการนำเนื้อร้องไปใส่ทำนองเป็นอย่างมาก ซึ่งSchubert นึกถึงความหลัง เขาก็ได้มีการ Modulate Key เป็น Major และมีบางท่อนที่มีทำนองเหมือนกัน แต่เนื้อร้องที่ต่างกันทำให้รู้สึกที่ต่างกัน เพลงที่ 2ค่อนข้างสื่ออารมณ์ที่ทำให้รู้สึกอาลัย เศร้า”
แสดงว่าผู้ฟังกลุ่มนี้รับรู้ถึงความหมายเพลงจากการได้อ่า นตัวบทกวีที่ได้แปลและ ตัวเนื้อร้องกับดนตรีที่มีความสัมพันธ์กัน มันทำให้เข้าใจตัวเพลงมากขึ้น
ฟังตัวเพลงโดยมีคำอธิบายเพลง
“หลังจากได้อ่านความหมายของเพลง รู้สึกว่า ตัวเพลงมันสอดคล้องกับความหมายของเพลงและเข้าใจเพลง ”
แสดงว่าผู้ฟังกลุ่มนี้รับรู้ถึงความหมายเพลงจากการได้อ่านความหมายที่ได้แปลและ ตัวเนื้อร้องกับดนตรีที่มีความสัมพันธ์กัน มันทำให้เข้าใจตัวเพลงมากขึ้นซึ่งจะคล้าย กลุ่มที่ 2 ที่ได้อ่านตัวบทกวี ที่แปลเป็นภาษาไทย
Popular Vote
8/10
8.5/10
8/10
แสดงว่าตัวบทร้องกับตัวดนตรี มีความสัมพันธ์กัน ถึงกลุ่มที่ 1 จะไม่ได้อ่านบทกวีกับความหมาย แต่สามารถรับรู้ได้ถึงอารมณ์ของเพลงในระดับหนึ่ง แต่กลุ่มที่ 2-3 นั้น สามารถเข้าใจตัวเนื้อร้องโดยการอ่านบทกวีและความหมายของเพลงยิ่งแสดงให้เห็นว่า ตัวบทร้องกับตัวดนตรี มีความสัมพันธ์และกัน ดนตรีสร้างความหมายให้กับเนื้อร้อง เพื่อให้แสดงออกมาให้เห็นภาพมากยิ่งขึ้น อนาคตของวิจัยนี้คือ การนำความเข้าใจของความสัมพันธ์ของบทร้องกับตัวดนตรี มาแต่งโดยนำบทประพันธ์ประเภทนี้ นำมาประพันธ์โดยใช้เนื้อร้องจากบทกลอนของไทย นำมาทำ บทประพันธ์ใหม่ เพื่อให้บทกลอนไทย ได้มีบทบาทในวงการดนตรีคลาสสิก และวงการเพลงทั่วไป มากยิ่งขึ้น เพื่อการอนุรักษ์ สืบต่อไป